วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4

บันทึกอนุทิน
บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


วัน/เดือน/ปี 6 ธันวาคม 2556

ครั้งที่ 4  เวลาเรียน 14.10-17.30 น.

เวลาเข้าสอน 14.10น. เวลาเข้าเรียน 14.20น. เวลาเลิกเรียน 17.30น
การเรียนการสอนในวันนี้ เป็นการนำเสนองานของแต่ล่ะกลุ่ม โดยมี 5 กลุ่มด้วยกัน คือ
  1. จำนวน   การนับจำนวนของเด็กปฐมวัยโดยการใช้กิจกรรมจัดให้กับเด็กเป็นการฝึกสมองของเด็กที่ดี ไม่จำเป็นต้องเป็นตัวเลขเยอะๆ อาจจะเป็นการนับผลไม้ก็ได้ เพื่อส่งเสริมทักษะในเรื่องของจำนวนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

2.การวัด  คือ ปริมาณของวัตถุต่างๆ ควรมุ่งเน้นในเนื่องของปริมาณที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนและเหมาะกับเด็กปฐมวัย อย่างเช่นการเปรียบเทียบ ขวดน้ำ 2 ขวด ว่าขวดไหนมีขนาดที่ใหญ่กว่ากัน เป็นต้น


3.เรขาคณิต  ได้รุ้จักรูปทรงต่างๆ และสามารถแยกได้ว่าเป็นรูปทรงอะไร ครูควรจัดกิจกรรมให้กับเด็กโดยให้เด็กนั้นวาดรูปทรงต่างๆ เพื่อเป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือ และฝึกจินตนาการของเด็กได้อีกด้วย


4. พีชคณิต  กล่าวกันว่าพื้นฐานของคณิตศาสตร์สมัยใหม่คือ “เซต”(set) ซึ่งเป็นเรื่องยากสำหรับ เด็กเล็กสามารถเข้าใจเหตุผลของทฤษฎีของเซตได้อย่างง่ายดาย  ถ้าจะพูดง่ายๆ “เซต” คือกลุ่มของสิ่งของ เมื่อเด็กหยิบไม้บล๊อกของเล่นออกมาจากกล่องที่ละชิ้น และแยกเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมและชิ้นสามเหลี่ยมก็เท่ากับเริ่มเรียน”เซต”แล้ว ไม้บล๊อกแต่ละอันก็เป็นสมาชิกของเซต กองของไม้สี่เหลี่ยมหรือไม้สามเหลี่ยมก็คือ “ซับเซต” นี่คือเรื่องง่ายๆ และเป็นพื้นฐานของทฤษฎีเซต เด็กเล็กๆสามารถเข้าใจทฤษฎีเซตง่ายๆ เช่นนี้ได้ดีกว่าทฤษฎียุ่งยากของเลขคณิต


5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น  เด็กสามารถเข้าใจรูปร่าง รูปทรง ขนาดและสี ที่สัมพันธ์กัน เด็กสามารถจำแนกของที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมสามเหลี่ยมได้ กิจกรรมนี้สามารถนำมาจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กได้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของเด็กแต่ล่ะคนได้เป็นอย่างดี


ประโยชน์ที่ได้รับในวันนี้  คือ ได้เรียนรู้ในเรื่องของการสอนเด็กปฐมวัยในรายวิชานี้ ว่าควรสอนและจัดกิจกรรมแบบใดที่จะเหมาะสมกับเด็ก เพื่อให้เด็กได้พัฒนาตนเอง และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ในเรื่องของสิ่งของและจำนวนต่างๆ 


วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐ
มวั

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


วัน/เดือน/ปี 22 พฤศจิกายน 2556

ครั้งที่ 3  เวลาเรียน 14.10-17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10น. เวลาเข้าเรียน 14.20น. เวลาเลิกเรียน 17.30น

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


วัน/เดือน/ปี 22 พฤศจิกายน 2556

ครั้งที่ 3  เวลาเรียน 14.10-17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10น. เวลาเข้าเรียน 14.20น. เวลาเลิกเรียน 17.30น

การเรียนการสอนในวันนี้ อาจารย์ได้เข้าสู่บทเรียนในเรื่อง

จุดมุ่งหมายทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
 1) เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐาน
 2) เพื่อพัฒนามโนภาพของเด็ก
 3) เพื่อให้เด็กได้รู้จักใช้กระบวนการคิด
 4) เพื่อให้เด็กได้ฝึกฝนคณิตศาสตร์
 5) เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
 6) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักหาคำตอบด้วยตัวเอง

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1) การสังเกต (Observation)
-การใช้ประสาทสัมผัส
โดยเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับเด็ก
 2) การจำแนกประเภท (Classifying)
-การแบ่งประเภทสิ่งของ
-เกณฑ์ในการจำแนก
3) การเปรียบเทียบ (Comparing)
-อาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ
-เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะกับสิ่งนั้นๆ
4) การจัดลำดับ (Ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
-การจัดลำดับวัตถุของ หรือเหตุการณ์
  5) การวัด (Measurement)
-สัมพันธ์กับการอนุรักษ์
  6) การนับ (Counting)
-นับแบบไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำจะมีความหมายเชื่อมโยงกับจุดประสงค์

7) รูปทรงและขนาด (Sharp and Size)

              ท้ายชั่วโมงอาจารย์ได้แจกอุปกรณ์ กระดาษ สี กรรไกร กาว   อาจารย์ให้เขียนตัวเลขที่ตัวเองชอบลงไปกลางหน้ากระดาษ หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้วาดกลีบดอกไม้ตามจำนวนที่เขียนตัวเลข


นี่คือผลงานของ น.ส.ธิดารตน์  สุทธิพล  ค่ะ


และนี่ก็คือ ผลงานของเพื่อนๆทุกคนค่ะ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน



วัน/เดือน/ปี 15 พฤศจิกายน 2556


ครั้งที่ 2  เวลาเรียน 14.10-17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10น. เวลาเข้าเรียน 14.20น. เวลาเลิกเรียน 17.30น

วันนี้อาจารย์ได้เข้าสู่บทเรียนในเรื่องของ
ความหมายทางคณิตศาสตร์    หมายถึง   ระบบการคิดของมนุษย์ ที่ใช้ศึกษาอธิบายสิ่งต่างๆในเชิงปริมาณ โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ การพูด การเขียน และเป็นการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับ จำนวน ตัวเลข การคิดคำนวณ หรือการดำเนินการเกี่ยวกับการเกี่ยวกับ จำนวน การวัด เป็นต้น
ความสำคัญของคณิตศาสตร์
 1) เกี่ยวข้องในชีวิตปรัจำวัน
 2) ส่งเสริมกระบวนการคิด แก้ปัญหาโดยเฉพาะอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์
 3) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสำรวจข้อมูล วางแผน และ ประเมินผล
 4) เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของวิชาต่างๆ โดบเฉาะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เข้าสู่ทฤษฏี พัฒนาการทางสติปัญญา
โดยแนวคิดของ Piaget (เพียเจต์) ที่ว่า
1) ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส (แรกเกิด-2ปี)
    -เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
    -เด็กวามารถจำลักษณะของวัตถุ
2) ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล (2-7ปี)
    -เด็กใช้ภาษาพูดแสดงความรู้สึก ความคิ
    -เด็กรู้จักที่จะบิกขนาด น้ำหนัก รูปทรงและความยาว
    -เล่นบทบาทสมมติเป็นพื้นฐานของความเข้าใจ เป็นนามธรรม
    -เด็กวัยนี้จะให้ความสำคัญกับสิ่งที่สังเกต และรับรู้ได้ชัดเจน
    -ไม่สามารถคงความคิดตามสภาพเดิมไว้ได้ เมื่อสภาพทางกายภาพได้เปลี่ยนแปลงไป
การอนุรักษ์...(Conservation)
 เด็กวามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย
การสะสมความคิดเดิม เช่น
-การนับ
-การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
-การเปรียบเทียบรูปทรง ปริมาตร
-การเรียงลำดับ
-การจัดกลุ่ม
หลักการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
 1) เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย อธิบาย และสำรวจความสัมพันธ์แบบต่างๆ โดยผ่านวัตถุ และ อุปกรณ์
2) ผสมผสานคณิตศาสตร์กับการเล่น และกิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติ 
4) ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ในการสร้างความเข้าใจกับคณิตศาสตร์
5) ใช้คำถามปลายเปิด
6) เชื่อมโยงการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หลังจากที่เรียนทฤษฏีเสร็จ อาจารย์ได้แจกกระดาษเพื่อทำกิจกรรม คือ วาดรูปสัตว์ที่มีขาเยอะที่สุด


จากกิจกรรมในวันนี้ เด็กจะได้ทักษะในเรื่องของ รูปทรง เรขาคณิต และสามารถนำกิจกรรมนี้ไปจัดประสบการณ์ ให้กับเด็กได้ในอนาคต ของการเป็นครูปฐมวัยค่ะ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน


วัน/เดือน/ปี  8  พฤศจิกายน 2556

ครั้งที่ 1  เวลาเรียน 14.10-17.30 น.
เวลาเข้าสอน 14.10น. เวลาเข้าเรียน 14.20น. เวลาเลิกเรียน 17.30น

         การเรียนการสอนในวันนี้ อาจารย์ได้ให้เขียนแผนความคิดของตนเอง ว่าแต่ล่ะคนมีความรู้เดิมเกี่ยวกับรายวิชานี้อย่างไรบ้าง และเกี่ยวของกับเด็กปฐมวัยอย่างไร 




เด็กใส่แว่น                                                                          เด็กใส่แว่น